เป้าหมายหลัก (Understanding Goal) :

Main

วัน ศุกร์ ที่ 21 เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ วันเดินทางเข้า LPMP )







เดินทางเข้าที่พัก โดยมีครูอิงมารับ แล้วเดินไปส่งที่ห้องพัก
ช่วงเที่ยง : พี่อ้อนได้สอนเกี่ยวกับอุปกรณ์การถ่ายวิดีโอเบื้องต้น และให้คิดมุมกล้องในสถานการณ์ที่
ไม่เอื้ออำนวย ไม่จำเป็นต้องใช่ลูกเล่นเยอยก็ได้ในการถ่ายวิดีโอ ขอแค่ภาพและมุมกล้องออกมาสวยก็
พอ และได้บอกว่าจะมีกิจกรรมต่างๆ ว่าในตอนที่เรามาฝึกสอนจะได้เรียนรู้และลงมือปฎิบัติจริง
           พี่ต๊อกได้แจกแจงรายละเอียดต่างๆ และให้ดูเกี่ยวกับแผนการสอนของปีที่ผ่านมา
ช่วงเวลา 19-00 - 20-00 นาที
ได้เข้าอบรม : กับคณะคุณครูที่มาจากโรงเรียนต่างๆ และได้รู้เกี่ยวกับ การทำเบรนยิมที่ยากกว่าที่ได้
ศึกษามา และได้ร่วมกิจกรรมต่างๆ ภายในงาน 



วัน เสาร์ ที่ 22 เมษายน 2560 วันแห่งการเริ่มต้นการเรียนรุ้ )
    เช้าวันนี้เริ่มต้นโดยการทำจิตศึกษาเพื่อกำกับสติของจนเองให้พร้อมกับการเรียนรู้อะไรใหม่ๆ ผ่านกระบวนการ Brain Gym จากวัสดุอุปกรณ์ เป็นการกำกับสติให้รู้ตัว มีสมาธิในการทำงาน การสร้างพลังทางบวก เสริมแรงทางบวก สร้างความเชื่อมั่นให้กับคนรอบข้าง มีการให้กำลังใจ การทำ Body scan เป็นการ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย พร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ขอบคุณสรรพสิ่งบนโลกใบนี้ เเละร่วมเรียนรู้และทดลองเขียน หลักสูตร PBL พร้อมกันกับเพื่อนจาก มรภ.อุบลราชธานี และ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ทำให้ทราบถึงองค์ประกอบของหลักสูตร ส่วนสำคัญ และวิธีการนำไปใช้

วัน อาทิตย์ ที่ 23 เมษายน 2560



วันที่ 3 เป็นการปรับเปลี่ยนเเละเรียนรู้ เริ่มต้นโดยการกำกับสติผ่าน โยคะ ในวันนี้คณะอบรมทุกท่านได้เเปลงร่างเป็น พระอาทิตย์ ภูเขา จนถึง ปลาดาว ขณะทำจิตศึกษาแบบโยคะรู้สึกสงบมีสติ กำกับลมหายใจเข้าออกตลอดเวลา จากนั้นร่วมถ่ายทอดความรู้สึกดีๆ ให้คณะครูจากโรงเรียนประชารัฐ กิจกรรมนี้ทำให้รู้ถึง การเปิดใจ การได่เห็นมุมมองต่างๆของคนอื่น เเละที่สำคัญที่สุดคือการเป็น ผู้ฟังที่ดี จากนั้นได้ลองทดลองเขียนแผนจิตศึกษา ทั้งหมดสองเเผน




ส่วนในช่วงบ่ายได้พัฒนาเเละทำหลักสูตร PBL เพิ่มเติ่มจากเมื่อวานโดยในวันนี้ได้ทำปฏิทินการเรียนรู้เเละ Mind mapping เสร็จเรียนร้อยเเล้ว 


ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) PBL หน่วย: “you are what you eat
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 (Quarter 1) ปีการศึกษา 2559
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจและเห็นคุณค่าของการรับประทานอาหารที่ส่งผลต่อร่างกายและความสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสม
Week
Input
Process
Output
Outcome
1
โจทย์ : เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Question :
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร/เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น
เครื่องมือคิด 
- Round Robin
- Think Pair Share
- Blackboard Share
- Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
เรื่องเล่าในช่วงปิดเรียนจากครูและนักเรียน
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
- ครูและนักเรียนทักทายกัน โดยสร้างปฏิสัมพันธ์ในแนวราบ
- ครูสร้างแรงบันดาลใจด้วยการให้ดูคลิป VDO สัตว์โลกอ้วนกลมนักเรียนเห็นอะไรบ้าง/เพราะอะไรจึงเป็นอย่างนั้น/แล้วถ้าเป็นตัวเราจะทำอย่างไร?
- นักเรียนทำแบบทดสอบร่างกายของตัวเอง โดยการชั่งน้ำหนักตัว วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เปรียบเทียบมาตรฐานน้ำหนักกับส่วนสูง
:ร่างกายของเราเป็นอย่างไร/นักเรียนคิดเห็นอย่างไรกับร่างกายของตนเองในขณะนี้(ประเมินสภาพร่างกายด้วยตนเอง) 
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : รอบเอวและน้ำหนักตัวที่มากมีผลอย่างไรกับตัวเรา/นักเรียนจะทำอย่างไรต่อไป
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
:จากปัญหาที่นักเรียนประสบอยู่นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเพื่อทำความเข้าใจแล้วนำมาแก้ไขปัญหาให้กับตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-
 ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาในสัปดาห์นี้ร่วมกัน : นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างในสัปดาห์นี้
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1
ภาระงาน
แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคลิปวีดีโอที่ได้ดู
- ช่วยกันเพื่อตั้งชื่อหน่วยที่เป็นปัญหาและน่าเรียนรู้
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้ดูจากคลิป
- แบบทดสอบร่างกายภาพตกแต่งหน้าห้องเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่1
ความรู้
เข้า ใจความต้องการของตนเองสามารถพูดอธิบาย
พร้อมกับตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจและเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
ทักษะ
 :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ :เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
Week
Input
Process
Output
Outcome
2
โจทย์ : ออกแบบ/วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “You are what you eat
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “
You are what you eat
นักเรียนจะออกแบบ/วางแผน การเรียนรู้ตลอด 10สัปดาห์อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด 
- Blackboard Share 
-
 Mind Mapping  
-
 Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- หนังสือ/ห้องสมุด
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 :นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “You are what you eat
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับหน่วย “
You are what you eat : นักเรียนจะสรุปสิ่งที่รู้แล้วทั้งหมดของตนเองอย่างไร
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนเป็นรายบุคคลผ่านเครื่องมือคิด (
Mind Mapping)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย “You are what you eat
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : นักเรียนจะออกแบบและวางแผนกิจกรรมจากสิ่งที่อยากเรียนรู้อย่างไร
-
 ครูและนักเรียนออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้10 สัปดาห์ร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
ภาระงาน
-  แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
-  ช่วยกันเพื่อออกแบบและวางแผนทำปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ร่วมกัน
- การทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดสัปดาห์
ชิ้นงาน
-  สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนทำปฏิทินการเรียนรู้
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่2
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
3
โจทย์ : การกำเนิด
Key Questions :
นักเรียนเกิดขึ้นมาได้อย่างไร?
- ทำไมต้องมีการเกิด / สิ่งอื่นดำรงเผ่าพันธุ์หรือขยายพันธุ์อย่างไร?
- มนุษย์ พืช และสัตว์ แตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด?

เครื่องมือคิด 
- Flowchart 
- Blackboard Share
- Show and Share  
-
 Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-  หนังสือ/ห้องสมุด
- Internet
- ครูเปิดคลิป VDO การกำเนิดมนุษย์นักเรียนเกิดขึ้นมาได้อย่างไร 
- นักเรียนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการกำเนิดของตนเองในรูปแบบของ
 
Flowchart เป็นรายบุคคล- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำไมต้องมีการเกิด / สิ่งอื่นดำรงเผ่าพันธุ์หรือขยายพันธุ์อย่างไร/มนุษย์ พืช และสัตว์ แตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
- นักเรียนสรุปการดำรงเผ่าพันธุ์ของพืชและสัตว์ลงในตาราง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม:สิ่งต่างๆรวมทั้งตัวเราเติบโตขึ้นได้อย่างไร?
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ
 : ปัจจัยที่ส่งผลให้เราเติบโตมีอะไรบ้าง แล้วสิ่งเหล่านั้นเข้าสู่ร่างกายของเราได้อย่างไร 
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต
(ระบบหายใจ
,ระบบย่อย,ระบบขับถ่ายและระบบต่อมต่างๆ)
- นักเรียนหาข้อมูลเพิ่มเติมเป็นกลุ่มตามระบบทั้ง
 4 กลุ่มละ 5-6 คน
- ครูพานักเรียนทำการทดลองสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร เพื่อให้ทราบว่าส่วนประกอบของอาหารที่อภิโภคในแต่ละวันมีปนเปื้อนอยู่ด้วย
- นักเรียนหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีแยกสารปนเปื้อนในอาหาร
 - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
ภาระงาน
การดูคลิป VDO การกำเนิดมนุษย์
- การวิเคราะห์ปัจจัยในการเจริญเติบโตของคน,พืช,และสัตว์
- การศึกษาและวิเคราะห์ระบบหายใจ,ระบบย่อย,ระบบขับถ่ายและระบบต่อมต่างๆ
- ทำการทดลองสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร
ชิ้นงาน
Flowchart การกำเนิดของมนุษย์
สรุปโครงสร้างทั้ง 4ระบบ ของมนุษย์ พืชและสัตว์
- สรุปผลการทดลองสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่3
ความรู้
เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
ทักษะ
 :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
4
โจทย์ : โครงสร้างของร่างกายมนุษย์
Key Questions :
- มนุษย์ต้องการน้ำและอาหารไปเพื่ออะไร?
ระบบต่างๆในร่างกายมีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
เครื่องมือคิด 
- Round Robin  
- Blackboard Share 
-
 Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-  หนังสือ/ห้องสมุด
- Internet
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่แล้วร่วมกันและกระตุ้นด้วยคำถามต่อ :ถ้าสารเคมีปนเปื้อนในอาหารเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ จะเกิดอะไรขึ้น
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเมื่อสารเคมีเข้าสู่ร่างกายและ แล้วครูเชิญนักเรียนที่นำเสนอมาช่วยเขียนบนกระดาน
- นักเรียนจับสลากหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบต่างๆที่ถูกทำลายจากสารเคมีปนเปื้อนแต่ละชนิดเช่น ระบบกล้ามเนื้อ
,ระบบโครงกระดูก,ระบบประสาท,ระบบไหลเวียนเลือดและระบบต่อมไรท่อต่างๆ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : ระบบต่างๆในร่างกายมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
- นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ของระบบต่างๆในร่างกาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4


ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเมื่อสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
- นำเสนอชาร์ตความรู้เกี่ยวกับระบบต่างๆ

ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับระบบต่างๆ
- สรุปความสัมพันธ์ของระบบต่างๆในร่างกาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
4
ความรู้
เข้าใจการดำรงเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ พืช สัตว์ และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆที่ทำงานร่วมกันได้
ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจผลร้ายของโรคอ้วนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และสามารถดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรคอ้วนได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
5
โจทย์ : ร่างกายบอกอะไร
Key Questions :
- ทำไมคนจึงป่วย?
โรคอ้วนเกิดขึ้นได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด 
- Round Robin 
- Place Mat
- Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิป VDO “เราอาจจะตายเพราะกิน
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำไมคนจึงป่วย
- นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
ครูให้นักเรียนดูคลิป VDO “เราอาจจะตายเพราะกิน”:นักเรียนเห็นอะไรบ้าง/รู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่ดู/แล้วนักเรียนจะทำอย่างไร
-
 นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป VDOผ่านเครื่องมือคิด (Place Mat)
- ครูเปิดภาพรวมพลคนอ้วนแล้วใช้คำถามกระตุ้นการคิด:โรคอ้วนเกิดขึ้นได้อย่างไร
- นักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาโรคต่างๆที่เป็นผลพวงจากการเกิดโรคอ้วน
- นักเรียนนำเสนอชาร์ตโรคต่างๆที่เป็นผลพวงมาจากโรคอ้วน และหาวิธีการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
-
 สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
ภาระงาน
- ดูคลิป VDO “เราอาจจะตายเพราะกิน
การอภิปรายร่วมกัน
การวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป VDO
- การศึกษาโรคต่างๆที่เป็นผลพวงจากการเกิดโรคอ้วน
- การแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับผลพวงของโรคอ้วน
ชิ้นงาน
- Place Matวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปVDO
ชาร์ตโรคต่างๆที่เป็นผลพวงจากการเกิดโรคอ้วน
บทบาทสมมุติเกี่ยวกับผลพวงของโรคอ้วน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่5
ความรู้
เข้าใจผลร้ายของโรคอ้วนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรคอ้วนได้
ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : เข้าใจและสามารถอธิบายอาหารหลัก 5 หมู่ตลอดจนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
6
โจทย์ : อาหารสุขภาพClean food
Key Questions :
ทำไมต้องกินอาหาร?
- อาหารมีประโยชน์ต่อตัวเราอย่างไร?
เครื่องมือคิด 
- Round Robin  
- Blackboard Share
- Show and Share  
-
 Wall Thinking 
Gard and Chart
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-  หนังสือ/ห้องสมุด
- ห้องครัวประถม
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำไมต้องกินอาหาร?/อาหารมีประโยชน์ต่อตัวเราอย่างไร
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด (Round Robin)
- นักเรียนแบ่งเป็นห้ากลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารต่างๆตามที่จับสลากได้(อาหาร 5 หมู่)
- นักเรียนสรุปอาหารหลัก
 5 หมู่ในรูปแบบของ
ชิ้นงานที่หลากหลายตามความถนัดของตนเองเช่นFlowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง 
-
 ครูพานักเรียนทำการทดสอบสารอาหารอย่างง่าย
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเพื่อสรุปผลการทดสอบสารอาหาร

- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะประกอบอาหารที่มีคุณค่าให้กับตัวเองอย่างไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการ
ประกอบอาหารที่มีคุณค่าให้กับตัวเอง
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น
 5 กลุ่มๆละ 5 คน เพื่อออกแบบและวางแผนการประกอบอาหาร จาก Gard and Chart โดยคำนึงถึงคุณค่าทางสารอาหารที่ครบ 5 หมู่ตามที่ร่างกายต้องการ
-
 นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6
ภาระงาน
แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับทำไมต้องกินอาหาร?/อาหารมีประโยชน์ต่อตัวเราอย่างไร
- การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่
- การทดสอบสารอาหารอย่าง่าย
- การประกอบอาหารสุขภาพ
ชิ้นงาน
- สรุปอาหารหลัก 5 หมู่
- สรุปผลการทดลอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายอาหารหลัก 5หมู่ตลอดจนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนสามารถออกและวางแผนการดูแลสุขภาวะของตนเองพร้อมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
7
โจทย์ : สุขภาวะที่ดี
Key Question :
ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมีสุขภาวะที่ดี?
เครื่องมือคิด 
- Think Pair Share 
- Mind Mapping 
- Blackboard Share
- Show and Share 
-
 Wall Thinking 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : ทำอย่างไรนักเรียนจึงจะมีสุขภาวะที่ดี
- ครูแจกกระดาษให้
นักเรียนเขียนวิธีที่จะทำให้ตนเองมีสุขภาวะที่ดีผ่านเครื่องมือคิด (Think Pair Share)
- นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่ของวิธีการที่จะทำให้ตนเองมีสุขภาวะที่ดีเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : นักเรียนจะออกแบบ
และวางแผนการดูแลสุขภาวะของเราอย่างไร
- นักเรียนแลกเปลี่ยนวิธีการออกแบบและวางแผนการดูแลสุขภาวะร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด (
Blackboard Share)
- นักเรียนออกแบบวางแผนการดูแลสุขภาวะของตนเองให้ได้ตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับช่วงวัย (การกิน,การออกกำลังกาย,การพักผ่อนฯลฯ)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะดูแลร่างกายอย่างไรให้สะอาด?”
- นักเรียนศึกษาการอาบน้ำแปรงฟันและการทำความสะอาดร่างกายที่ถูกต้องตามหลักอนามัย
- นักเรียนซ้อมการแสดงเพื่อถ่ายทอดการดูแลร่างกายที่ถูกต้อง
- นักเรียนถ่ายทอดการดูแลร่างกายที่ถูกต้องผ่านบทบาทสมมุติ
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการแสดงบทบาทสมมุติและเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาต่อยอดกันและกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7
ภาระงาน
- ช่วยกันจัดหมวดหมู่ของวิธีการที่จะทำให้ตนเองมีสุขภาวะที่ดี
- ออกแบบวางแผนการดูแลร่างกายให้ได้ตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับช่วงวัย
- ถ่ายทอดการดูแลร่างกายที่ถูกต้องผ่านบทบาทสมมุติ
ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปวิธีการดูแลสุขภาวะของตนเอง
- แผนการดูแลสุขภาวะของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่7
ความรู้
นักเรียนสามารถออกและวางแผนการดูแลสุขภาวะของตนเองพร้อมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
 :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : รู้เท่าทันสื่อโฆษณา และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อตัวเองได้
Week
Input
Process
Output
Outcome
8
โจทย์ : อาหาร ภาค

Key Questions :
- จากภาพคิดว่าเป็นอาหารอะไร
-
 คิดว่าเป็นอาหารของภาคใด?
- อาหารแต่ละภาคมีความแตกต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
 
-
 Card and Chart 
- Show and Share
- Jigsaw 
-
 Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ 
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
นักเรียนดูภาพ  อาหารแต่ละภาค” 
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม จากภาพคิดว่าเป็นอาหารอะไร/คิดว่าเป็นของภาคใด/อาหารแต่ละภาคมีความแตกต่างกันอย่างไร
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น 
กลุ่ม แจกบัตรภาพอาหารให้นักเรียนแล้วให้นำไปติดตามภาคในแผนที่ประเทศไทย
- นักเรียนแต่ละกลุ่มหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาหาร ภาค โดยใช้เครื่องมือคิด Jigsaw
- นักเรียนนำเสนอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8
ภาระงาน
- เขียนแสดงความคิดของตนเองเกี่ยวกับภาพอาหาร
- ติดภาพอาหารในแผนที่ประเทศไทย
- แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับอาหาร 4ภาค
ชิ้นงาน
- สรุปอาหาร ภาค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่8
ความรู้
รู้เท่าทันสื่อโฆษณา และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยต่อตัวเองได้
ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจและสามารถออกแบบวางแผนการถ่ายทอด องค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
Week
Input
Process
Output
Outcome
9
โจทย์ : 
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
คำถาม
  นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
นักเรียนทำ 
สิ่งใดได้ดี และต้องพัฒนาบ้างเพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด  
- Round Robin 
-
 Show and Share 

- Mind Mapping  
-
 Wall Thinking ชิ้นงาน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 
บรรยากาศนานห้องเรียน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : สิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter ที่ผ่านมามีอะไรบ้าง
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนเป็นรายบุคคล
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : ตลอด Quarter ที่ผ่านมาสิ่งไหนบ้างที่นักเรียนทำได้สำเร็จ และสิ่งไหนบ้างที่ควรพัฒนาเพิ่มเติมต่อยอดต่อไป
-
 นักเรียนประเมินตนเองเป็นรายบุคคลในรูปแบบของMind Mapping 
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อเตรียมความพร้อม ในการสรุปนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ในรูปแบบของนิทรรศการ

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
ภาระงาน 
เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนา
เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียน
ชิ้นงาน 
- Mind Mapping การ์ตูนช่องหรือบรรยาย สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 9
ความรู้ : 
นักเรียนเข้าใจและสามารถออกแบบวางแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย
เป้าหมายรายสัปดาห์ : นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
Week
Input
Process
Output
Outcome
10-11
โจทย์ : 
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
คำถาม
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- นักเรียนจะจัดและตกแต่งบรรยากาศห้องเรียนอย่างไร
เครื่องมือคิด  
- Show and Share 
ชิ้นงาน

- Wall Thinking ชิ้นงาน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 
บรรยากาศนานห้องเรียน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม : นักเรียนจะจัดและตกแต่งบรรยากาศห้องเรียนอย่างไร/นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการจัดเตรียมสถานที่
จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- เผยแพร่องค์ความรู้ ในรูปแบบของนิทรรศการ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม
 : นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเผยแพร่องค์ความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
-
 นักเรียนเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาในสัปดาห์นี้ร่วมกัน : นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างในสัปดาห์นี้
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมาตลอดทั้งสัปดาห์
-
 สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10
ภาระงาน 
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน
จัดนิทรรศการสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
ชิ้นงาน 
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 10
ความรู้ : 
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ เป็นแรงบันดาลใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ- รู้จักตนเอง

- เห็นความสัมพันธ์ของตนเองกับผู้อื่น
- เคารพ ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย


วัน จันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 







ในช่วงเช้าได้ทำจิตศึกษาเพื่อกำกับสติของจนเองให้พร้อมกับการเรียนรู้อะไรใหม่โดยการใช้วัสดุในการทำกิจกรรมและได้มีการแบ่งกลุ่มเพื่อให้ภายในกลุ่มศึกษาเกี่ยวกับ Body scan ในแต่ละประเภท แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ละให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มสอนทำ Body scan และได้เรียนรู้เกี่ยวกับ Mind Set (Fixed,Growth) มนุษย์ที่สมบูรณ์(ปัญญาภายนอก,ปัญญาภายใน) PBL,PLC ระดับการสนทนา Sap,Empower และได้ทำTimeline

วัน อังคารที่ 25 เมษายน 2560 













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น